• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

เช็คด่วน! ปวดท้องแต่ละจุด เสี่ยงเป็นโรคอะไร?

Started by ButterBear, December 16, 2024, 09:27:10 AM

Previous topic - Next topic

ButterBear

"ปวดท้อง" อาการยอดฮิต  ที่ใคร ๆ ก็ต้องเคยเจอ    และรู้หรือไม่ว่า อาการปวดท้อง   ที่เราเป็น  สามารถ  เป็นสัญญาณ  ถึงโรคต่าง ๆ  ภายในร่างกาย   โดยดูจาก   ตำแหน่งของอาการปวด 

บทความนี้จะพาคุณไป สำรวจ   อาการปวดท้องแต่ละตำแหน่ง  และ   ไขข้อข้องใจว่า ปวดแบบนี้   เสี่ยงเป็นโรคอะไร? 

  ปวดท้อง 7 จุด   บอกโรคอะไรได้บ้าง?

 1.  จุกใต้ซี่โครงขวา 
 นิ่วในถุงน้ำดี  :  ปวดบิดรุนแรงเป็นพัก ๆ   อาเจียน   ตัวเหลือง ตาเหลือง
  นิ่วในไตขวา :  ปวดร้าวไป หลัง   ข้างขวา  ปัสสาวะ   แสบ

 2.  ปวดท้องน้อยข้างขวา 
 ไส้ติ่งอักเสบ  :  เริ่มจาก  ปวดลิ้นปี่  แล้วเลื่อนมาปวดขวาล่าง   ปวดรุนแรง 
   ช็อกโกแลตซีสต์ :  ปวด  ขณะมีเพศสัมพันธ์  ตกขาวผิดปกติ

 3.  จุกใต้ซี่โครงซ้าย 
 โรคกระเพาะอาหารอักเสบ  :  ปวด  จุกแน่น   หลัง  อาหาร  ท้องอืด
  ม้ามแตก :  ปวดรุนแรง ร้าวไปหลัง
 กรวยไตซ้ายอักเสบ  :  ปวดร้าวไป   เอว   ข้างซ้าย  ปัสสาวะ ขุ่น

 4.  ปวดท้องน้อยซ้าย  
 ลำไส้อักเสบ  :  ปวด บิด   ท้องเสีย  ถ่ายเป็นมูกเลือด
  ช็อกโกแลตซีสต์ :  ปวด ช่วงมีประจำเดือน   ตกขาวผิดปกติ

 5.  จุกเสียดหน้าอก 
 โรคหัวใจขาดเลือด  :   แน่นหายใจไม่ออก  เหงื่อออก  ร้าวไปกราม
  กรดไหลย้อน :  ปวด  จุกแน่น   ท้องอืด
 นิ่วในถุงน้ำดี :  ปวดบิดรุนแรงเป็นพัก ๆ  คลื่นไส้ อาเจียน  ตัวเหลือง ตาเหลือง

 6.  ปวดกลางท้อง  
 ลำไส้อักเสบ  :  ปวด  เกร็ง  ท้องเสีย  ถ่ายเป็นมูกเลือด
 ไส้ติ่งอักเสบ :  เริ่มจาก  ปวดลิ้นปี่  แล้วเลื่อนมาปวดขวาล่าง   ปวดรุนแรง 

 7.  ปวดเชิงกราน  
 กระเพาะปัสสาวะอักเสบ :  ปวด แสบขณะปัสสาวะ   ปัสสาวะ ขุ่น
  เนื้องอกมดลูก :  ปวด ประจำเดือน    มีเลือดออก

   สัญญาณอันตราย ปวดท้อง ห้ามละเลย!

  ถึงแม้  อาการปวดท้องบางครั้งอาจ  ไม่ได้ร้ายแรง   แต่ถ้าคุณมีอาการ ดังต่อไปนี้   ควรรีบไปพบแพทย์   โดยเร็วที่สุด
 ปวดท้องรุนแรง   ไม่ทุเลา
 ปวดท้องต่อเนื่องนานเกิน   ครึ่งวัน
 ปวดท้อง รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
  ตัวร้อน  ร่วมกับปวดท้อง
  คลื่นไส้    ไม่หยุด
 ถ่ายเป็นเลือด
  เบื่ออาหาร  โดยไม่ทราบสาเหตุ

อย่าลืมว่า   การไปพบแพทย์   อย่างรวดเร็ว   เมื่อมีอาการผิดปกติ   ช่วยลดความเสี่ยง  และ   หลีกเลี่ยง   ภาวะแทรกซ้อน   ที่เป็นอันตราย
อ่านต่อได้ที่ https://www.vimut.com/article/abdominal-pain