เราพร้อมให้บริการเจาะดินและทดสอบดินให้กับท่านในทุกช่วงเวลาที่ท่านต้องการ🦖 เพราะเราเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิศวกรรมฐานราก ✨ทีมวิศวกรโยธาของเรา มีความรู้ ✨ความเชี่ยวชาญทางวิศวกรรมดิน เพื่อให้ลูกค้าของเราทุกคน ได้รับผลงานการเจาะสำรวจดินและการทดสอบคุณสมบัติดิน ✨ในลักษณะของการออกแบบกำลังรับน้ำหนักของชั้นดิน 🦖ทราบถึงการใช้ฐานรากที่เหมาะสมกับสภาพชั้นดิน✅
📢📢📢บริการสำรวจดิน [ Soil Exploration Service ] การเจาะดิน📌📌📌เนื่องจากดินเบื้องล่างมีความสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ มาก ซึ่งส่งผลให้ความสามารถรับน้ำหนักและคุณสมบัติของดินแตกต่างกันออกไป การเก็บตัวอย่างดินจากการเจาะ 📌และการทดสอบต้องทำอย่างรอบคอบ👉โดยที่จะต้องให้เกิดความกระเทือนต่อดินที่จะนำมาทดสอบให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะว่าดินมีความไวตัวมาก เมื่อเกิดแรงกระเทือนก็จะทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงได้ ค่าที่วิจัยหรือทดลองได้ก็จะผิดไปจากความเป็นจริง ดังนั้น✨การเจาะและเก็บตัวอย่างดินจึงต้องมีวิธีการที่เหมาะสมกับงานในการเจาะสำรวจดินในโครงการแต่ละโครงการ🛒 การเจาะสำรวจดินกระทำได้โดยใช้เครื่องเจาะ 2 แบบ กล่าวคือ เครื่องเจาะระบบมอเตอร์ ✅และ Rotary System
🎯✅👉👉📢🌏🛒📌🦖
Quoteบริการ เจาะดิน | บริษัท เอ็กซ์เพิร์ท ซอยล์ เซอร์วิส แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
บริษัท เจาะสํารวจดิน บริการ เจาะดิน วิเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมปฐพีของดิน ทดสอบเสาเข็ม (Seismic Test)
👉 Tel: 064 702 4996
👉 Line ID: @exesoil (https://line.me/ti/p/%40exesoil)
👉 Facebook: https://www.facebook.com/exesoiltest/
👉 เว็บไซต์: เจาะสำรวจดิน.com (https://xn--82ca0bu1cyat1crc0a8k9g.com)
✨🥇🛒🌏⚡✨📢🌏⚡
👉👉👉งานทดสอบดินในสนาม🥇🥇🥇🛒📌🦖1. เจาะสำรวจดินและหิน
🛒การสำรวจดินในสนามประกอบด้วยการเจาะชั้นดิน, การทดสอบคุณสมบัติดิน, และการเก็บตัวอย่างดิน 📢เพื่อนำไปทดสอบในห้องปฏิบัติการและหาคุณสมบัติทางวิศวกรรม ผลการทดสอบในสนามและในห้องปฏิบัติการทำให้สามารถแบ่งชั้นดิน (Soil Profile) ได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบทางด้านวิศวกรรมฐานราก
📌🦖🎯2. การทดสอบความแน่นของดิน
🎯การวัดความแน่นของดินในสนามสามารถกระทำได้ด้วยวิธีการใช้วัสดุแทนที่ โดยมีหลักการคือการขุดหลุมในบริเวณที่ต้องการ 👉จากนั้นนำดินไปชั่งน้ำหนักและหาปริมาตรของดิน คือวิธี Sand Cone การทดสอบตามมาตรฐานดังนี้ ASTM D 1556
🦖🎯✅3. การทดสอบกำลังรับน้ำหนักของดิน
🦖ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน (Bearing Capacity) เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ใช้ในการคำนวณ ออกแบบฐานรากอาคาร และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ รวมทั้งใช้ในการวิเคราะห์การทรุดตัวของดินเมื่อมีน้ำหนักมากระทำ การทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของดิน✨ สามารถทำได้ด้วยวิธี Plate bearing test โดยทำการทดสอบที่ได้จากการพัฒนารูปแบบและปรับเปลี่ยนวิธีการและขั้นตอนของมาตรฐาน ASTM D1194-94
🎯✅👉4. การทดสอบแรงเฉือนของดินในสนาม
🌏การทดสอบแรงเฉือนดินเป็นการทดสอบดินที่มีลักษณะเป็นดินเหนียวอ่อนมากถึงดินเหนียวแข็งปานกลาง🎯 ในการทดสอบหาค่าแรงเฉือนของดิน (Shear Strength) เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนดินอันเนื่องมาจากการเก็บตัวอย่าง ตามมาตรฐาน ASTM D 2573
ลักษณะชั้นดินในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย🥇นั้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงของชั้นดิน 🎯ทำให้ลักษณะพื้นที่แตกต่างไปจากพื้นที่อื่น ๆ เช่น มีชั้นทรายหลวมผิดปกติ, มีชั้นดินเหนียวอ่อน หรือระดับความลึกของชั้นดินที่แข็งแรงมีความผันแปรสูง เป็นต้น จากลักษณะชั้นดินเหล่านี้ อาจทำให้เกิดปัญหากับฐานราก 🌏ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายอย่างคาดไม่ถึง ก่อนที่วิศวกรจะทำการออกแบบฐานรากให้ดีและเหมาะสมนั้น จึงต้องจัดให้มีการสำรวจดินอย่างละเอียด เพื่อให้การการออกแบบโครงสร้าง 👉เป็นไปอย่างละเอียดรอบคอบ ถูกต้องตามมาตรฐานวิศวกรรม เพื่อการวิเคราะห์ดินอย่างมืออาชีพ เมื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับดินในส่วนใดแล้ว จะต้องมีการวางแผนการสำรวจดิน 👉เพื่อให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย พร้อมกับได้ข้อมูลที่แม่นยำ เพราะดินมีคุณสมบัติที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ต่าง ๆ จึงยังไม่มีวิธีใดที่เหมาะสมที่สุดไปกับดินทุกสภาพ
Tags :
Soil Test (https://soilboringtest.wordpress.com/)